ข้อสอบ PAT2 และ 9 วิชาสามัญ  เรื่อง ประชากร

ข้อสอบ PAT2 และ 9 วิชาสามัญ เรื่อง ประชากร

12th Grade

10 Qs

quiz-placeholder

Similar activities

การสืบพันธุ์ของพืชดอก

การสืบพันธุ์ของพืชดอก

10th - 12th Grade

10 Qs

บทที่ 4 พฤติกรรมสัตว์

บทที่ 4 พฤติกรรมสัตว์

12th Grade

15 Qs

ประชากรมนุษย์

ประชากรมนุษย์

KG - University

10 Qs

การสืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวิต

การสืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวิต

12th Grade

10 Qs

แบบทดสอบการแข่งขันงานวิชาการ ชีววิทยา ม.6

แบบทดสอบการแข่งขันงานวิชาการ ชีววิทยา ม.6

12th Grade - University

10 Qs

Poppulation test

Poppulation test

12th Grade

10 Qs

การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต

การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต

12th Grade

10 Qs

ข้อสอบ PAT2 และ 9 วิชาสามัญ  เรื่อง ประชากร

ข้อสอบ PAT2 และ 9 วิชาสามัญ เรื่อง ประชากร

Assessment

Quiz

Biology

12th Grade

Hard

Created by

Sittichart Sitti

Used 251+ times

FREE Resource

10 questions

Show all answers

1.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

นกขุนทองในป่าแห่งหนึ่งมีจำนวนน้อยและขนาดประชากรไม่เปลี่ยนแปลงมาเป็นเวลานาน นักอนุรักษ์จึงช่วยกันสร้างโพรงไม้เทียมขึ้นในป่าแห่งนั้นจำนวนหนึ่ง เพื่อให้นกทำรัง หลังจากนั้นปรากฏว่า นกขุนทองในป่านี้มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี แล้วก็คงที่ที่จำนวนหนึ่ง การสร้างโพรงไม้เทียมทำให้นกขุนทองเพิ่มประชากรมากขึ้นกว่าในอดีตเนื่องจากเหตุใด (PAT2-61)

แครีอิงคาพาซิตีเพิ่มขึ้น

ตัวต้านทานในสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น

รูปแบบการสืบพันธุ์ของนกเปลี่ยนแปลงไป

การแก่งแย่งแข่งขันระหว่างสมาชิกในประชากรหมดไป

อัตราการอยู่รอดในช่วงอายุขัยต่างๆ ของนกเปลี่ยนแปลงไป

2.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

บริเวณชายฝั่งทะเลพบเพรียงทะเลชนิด Balanus sp.แพร่กระจายอยู่บนโขดหินระดับล่างๆ ซึ่งน้ำทะเลท่วมถึงทุกวัน และพบเพรียงทะเลชนิด Chthamalus sp.แพร่กระจายอยู่บนโขดหินระดับบนๆ ที่บางวันน้ำทะเลอาจท่วมไม่ถึง ถ้ากำจัดเพรียงทะเลชนิด Chthamalus sp.ออกไปหมด เพรียงทะเลชนิด Balanus sp.ก็ไม่แพร่กระจายขึ้นไประดับบนของก้อนหิน แต่ถ้ากำจัด เพรียงทะเลชนิด Balanus sp.ออกไป เพรียงทะเลชนิด Chthamalus sp.จะแพร่กระจายลงมาขึ้นบนโขดหินระดับล่างได้ ข้อมูลนี้แสดงว่า ปัจจัยใดเป็นปัจจัยจำกัดสำหรับการแพร่กระจายบนโขดหินของ เพรียงทะเลชนิด Balanus sp.(PAT2-61)

ความสูงของโขดหิน

กระแสน้ำขึ้นและน้ำลง

ความสูงของโขดหิน และกระแสน้ำขึ้นและน้ำลง

การแก่งแย่งแข่งขันกับ เพรียงทะเลชนิด Chthamalus sp

กระแสน้ำขึ้นและน้ำลง และการแก่งแย่งแข่งขันกับเพรียงทะเลชนิด Chthamalus sp.

3.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

เกษตรกรคนหนึ่งต้องการรู้ว่าปลานิลในบ่อเลี้ยงของเขามีความหนาแน่นประชากรเท่าไร วันหนึ่งเขาจึงจับปลาในบ่อของเขาขึ้นมา 2 ครั้ง ครั้งแรกได้ปลา 22 ตัว ครั้งที่สองได้ปลา 18 ตัว เขาทำเครื่องหมายปลาทั้งหมดที่จับได้นี้แล้วปล่อยกลับลง ไปในบ่อ วันต่อมาเขาจับปลาด้วยวิธีเดียวกับในวันแรก ครั้งแรกได้ปลาทั้งหมด 18 ตัว เป็นปลาที่มีเครื่องหมาย 9 ตัว เขายังไม่ปล่อยปลาที่จับได้แต่จับปลาครั้งที่สองทันที ได้ปลาทั้งหมด 6 ตัว เป็นปลาที่มีเครื่องหมาย 3 ตัว ถ้าบ่อของเขามีพื้นที่ 100 ตารางเมตร ข้อสรุปใดถูกต้อง (PAT2-60)

ปลาในบ่อนี้มีความหนาแน่นเชิงนิเวศเท่ากับ 8 ตัวต่อตารางเมตร

ปลาในบ่อนี้มีความหนาแน่นเชิงนิเวศเท่ากับ 0.36 ตัวต่อตารางเมตร

ปลาในบ่อนี้มีความหนาแน่นเชิงนิเวศเท่ากับ 0.54 ตัวต่อตารางเมตร

ปลาในบ่อนี้มีความหนาแน่นอย่างหยาบเท่ากับ 54 ตัวต่อตารางเมตร

ปลาในบ่อนี้มีความหนาแน่นอย่างหยาบเท่ากับ 0.8 ตัวต่อตารางเมตร

4.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

ข้อใดแสดงให้เห็นอิทธิพลของปัจจัยทางชีวภาพที่มีต่อสิ่งมีชีวิต (PAT2-60)

การแพร่กระจายของปะการังพวกที่สร้างแนวปะการัง

การว่ายทวนน้ำของปลาที่อาศัยอยู่ในลำธารใกล้ ๆ น้ำตก

การแพร่กระจายของเชื้อโพรโทซัวที่ก่อให้เกิดโรคเหงาหลับในทวีปแอฟริกา

การอพยพของนกปากห่างจากตอนเหนือของทวีปเอเซียลงมาทางตอนใต้ของทวีปเอเชีย

การแพร่กระจายของกระบองเพชรยักษ์ในทะเลทรายของรัฐอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกา

5.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

การเพิ่มของประชากรแบบเอ็กโพเนนเชียลมีลักษณะเป็นอย่างไร (PAT2-59)

อัตราการเพิ่มของประชากรในระยะ lag phase ต่ำกว่าในระยะ exponential growth phase

อัตราการเพิ่มของประชากรในระยะ lag phase สูงกว่าในระยะ exponential growth phase

อัตราการเพิ่มของประชากรในระยะ lag phase เท่ากับในระยะ exponential growth phase

ประชากรที่เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาในระยะ lag phase เท่ากับในระยะ exponential growth phase

ประชากรที่เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาในระยะ lag phase สูงกว่าในระยะ exponential growth phase

6.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

จากศึกษาประชากรกวางในป่าแห่งหนึ่งซึ่งมีพื้นที่ทั้งหมด5ตารางกิโลเมตร พบว่าเมื่อเริ่มศึกษามีกวางอยู่ 100 ตัว หลังจาก 1 ปีผ่านไปมีลูกกวางเกิดใหม่ทั้งหมด 6 ตัว และมีกวางตายไป 2 ตัว ข้อใดกล่าวถึงประชากรกวางในป่านี้ในช่วงเวลาที่ทำการศึกษาได้ถูกต้อง (PAT2-59)

ประชากรกวางนี้มีอัตราการรอดชีวิตต่ำในวัยแรกเกิด

ประชากรกวางนี้มีอัตราเกิดเท่ากับร้อยละ 0.6 ตัวต่อปี

ประชากรกวางนี้มีอัตราการเพิ่มประชากรเท่าร้อยละ 4 ตัวต่อปี

เมื่อเริ่มศึกษาประชากรกวางนี้มีความหนาแน่นเท่ากับ 25 ตัวต่อตารางกิโลเมตร

เมื่อเริ่มศึกษาประชากรกวางนี้มีจำนวนเท่ากับแครี่อิงคาพาซิตี (carrying capacity) ของมันแล้ว

7.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

นำกวางตัวผู้และตัวเมียจำนวน 2คู่ไปปล่อยบนเกาะแห่งหนึ่ง ปรากฏว่าประชากรเพิ่มจำนวนแบบเอกโพเนนเชียลโดยมีอัตราการเพิ่มประชากรปีละ1 ตัวต่อกวาง 1 ตัว ถ้าประชากรยังคงเพิ่มจำนวนแบบเอกโพเนนเชียลต่อไปเรื่อย ๆ ข้อใด กล่าวถึงประชากรกวางบนเกาะนี้ถูกต้อง (PAT2-57)

ในปีที่ 3 มีประชากรเพิ่มขึ้นทั้งหมด 32ตัว

สิ้นปีที่ 5 ประชากรมีจำนวนทั้งหมด 64 ตัว

อัตราการเพิ่มประชากรมีค่าสูงขึ้นในแต่ละปี

อัตราการเพิ่มประชากรมีค่าคงที่เท่ากันทุกปี

Create a free account and access millions of resources

Create resources
Host any resource
Get auto-graded reports
or continue with
Microsoft
Apple
Others
By signing up, you agree to our Terms of Service & Privacy Policy
Already have an account?