บทพากย์เอราวัณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

บทพากย์เอราวัณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

6th - 8th Grade

10 Qs

quiz-placeholder

Similar activities

แบบทดสอบพยางค์และคำ

แบบทดสอบพยางค์และคำ

7th Grade

10 Qs

คำสมาส-สนธิ

คำสมาส-สนธิ

8th - 9th Grade

10 Qs

การงานอาชีพ ม. 1 หน่วยที่ 4

การงานอาชีพ ม. 1 หน่วยที่ 4

6th - 8th Grade

10 Qs

แบบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 4-5 วิชาจัดดอกไม้

แบบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 4-5 วิชาจัดดอกไม้

8th Grade

15 Qs

การใช้ห้องสมุด

การใช้ห้องสมุด

7th Grade

10 Qs

อาหารจานเดียว ม.1

อาหารจานเดียว ม.1

7th Grade

10 Qs

แบบทดสอบเรื่องบพากย์เอราวัณ

แบบทดสอบเรื่องบพากย์เอราวัณ

6th - 8th Grade

10 Qs

Law for life EP.3 - นิติกรรมสัญญา

Law for life EP.3 - นิติกรรมสัญญา

1st Grade - University

10 Qs

บทพากย์เอราวัณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

บทพากย์เอราวัณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

Assessment

Quiz

Other

6th - 8th Grade

Hard

Created by

undefined undefined

Used 7+ times

FREE Resource

10 questions

Show all answers

1.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

ใครเป็นผู้พระราชนิพนธ์บทพากย์เอราวัณ

รัชกาลที่ ๑

รัชกาลที่ ๒

รัชกาลที่ ๓

รัชกาลที่ ๔

2.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

บทพากย์เอราวัณแต่งด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

กาพย์ยานี ๑๑

กาพย์เห่เรือ

กาพย์ฉบัง ๑๖

กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘

3.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

ชื่อเดิมของอินทรชิตคือข้อใด

รณพักตร์

ทศรถ

รณรงค์

ทศกรณ์

4.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

ใครเป็นผู้นำทัพฝ่ายพระรามมาสู้รบกับกองทัพอินทรชิต

พระราม

สุครีพ

ภิเภก

พระลักษมณ์

5.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

ลักษณะเด่นของช้างเอราวัณคือข้อใด

มี ๓๓ เศียร กายสีขาวเหมือนสีสังข์

มี ๓๔ เศียร กายสีขาวเหมือนสีสังข์

มี ๓๕ เศียร กายสีขาวเหมือนสีแก้ว

มี ๓๓ เศียร กายสีขาวเหมือนสีแก้ว

6.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

ใครเป็นผู้แปลงกายเป็นพระอินทร์ และช้างเอราวัณ เพื่อลงไปสู้รบกับกองทัพพระราม ตามลำดับ

อินทรชิต ,การุณราช

อินทรชิต ,กุมภกรรณ

อินทรชิต ,ทศกัณฐ์

ทศกัณฐ์ ,อินทรชิต

7.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

การวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์หมายถึงอะไร

เป็นการวิเคราะห์ภาพสะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ของคนที่สะท้อนมาจากวรรณคดี และวรรณกรรม โดยกวีนิยมแทรกไว้ในเนื้อเรื่อง เช่น ประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม ความเป็นอยู่การประกอบอาชีพ

เป็นการพิจารณาองค์ประกอบเนื้อหาว่า มีความสมจริงอย่างไร มีเหตุผลเพียงใด มีคุณค่าต่อผู้อ่านอย่างไร

เป็นการจำแนก แยกแยะ องค์ประกอบของสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกเป็นส่วน ๆ เพื่อค้นหาว่ามาจากอะไร เชื่อมโยงกับอะไร สัมพันธ์กันอย่างไร

เป็นการพิจารณาคุณค่าของบทประพันธ์ที่มีกลวิธีการประพันธ์ที่ดีเยี่ยม

และมีการใช้คำ และโวหารภาพพจน์ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความไพเราะ และเกิดจินตภาพ

แก่ผู้อ่าน

Create a free account and access millions of resources

Create resources
Host any resource
Get auto-graded reports
or continue with
Microsoft
Apple
Others
By signing up, you agree to our Terms of Service & Privacy Policy
Already have an account?