DCM301_1/67_QUIZ04

DCM301_1/67_QUIZ04

University

10 Qs

quiz-placeholder

Similar activities

FDB212_1/67_QUIZ07

FDB212_1/67_QUIZ07

University

12 Qs

FDB212_1/67_QUIZ01

FDB212_1/67_QUIZ01

University

11 Qs

DCM301_1/67_QUIZ08

DCM301_1/67_QUIZ08

University

12 Qs

MDC445 การผลิตสื่อโฆษณา QUIZ06

MDC445 การผลิตสื่อโฆษณา QUIZ06

University

11 Qs

ความคิดสร้าง_RMUTK QUIZ09

ความคิดสร้าง_RMUTK QUIZ09

University

12 Qs

FDB337 Content Creator QUIZ03

FDB337 Content Creator QUIZ03

University

11 Qs

MDC445 การผลิตสื่อโฆษณา QUIZ04

MDC445 การผลิตสื่อโฆษณา QUIZ04

University

10 Qs

FDB345_1/67_QUIZ02

FDB345_1/67_QUIZ02

University

10 Qs

DCM301_1/67_QUIZ04

DCM301_1/67_QUIZ04

Assessment

Quiz

Journalism

University

Hard

Created by

Sukrit Srithanyarat

Used 2+ times

FREE Resource

10 questions

Show all answers

1.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

ข้อใด อธิบายไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างกฎหมายและจริยธรรม

หากกระทำผิดกฎหมายจะได้รับบทลงโทษทางสังคม

จริยธรรมคือข้อปฏิบัติที่ดีที่ถูกนำไปบังคับใช้ในกฎหมายบางประการ

กฎหมายมีสภาพการบังคับใช้แก่ประชาชนทุกคน

การละเมิดจริยธรรมบางกรณี ไม่มีความผิดทางกฎหมาย

จริยธรรมคือสิ่งที่สภาวิชาชีพกำหนดขึ้น

2.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

สภาการสื่อมวลชนแห่งชาติ จัดทำข้อบัญญัติด้านจริยธรรมวิชาชีพสื่อไว้กี่ด้าน อะไรบ้าง

2 ด้าน ด้านหลักจริยธรรมสำหรับประกอบวิชาชีพ และ ด้านหลักจริยธรรมทั่วไป

3 ด้าน คือ ด้านหลักจริยธรรมประจำวิชาชีพ ด้านหลักจริยธรรมสือดิจิทัล และด้านหลักจริยธรรมทั่วไป

4 ด้าน คือ ด้านหลักจริยธรรมทั่วไป ด้านหลักจริยธรรมสิ่งพิมพ์ ด้านหลักจริยธรรมสื่อวิทยุโทรทัศน์ และหลักจริยธรรมสื่อดิจิทัล

2 ด้าน ด้านหลักจริยธรรมทั่วไป และด้านหลักกระบวนการทำงาน

3 ด้าน คือ ด้านหลักจริยธรรมสื่อดิจิทัล หลักจริยธรรมสื่อดั้งเดิม และหลักจริยธรรมทั่วไป

3.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

สภาการสื่อมวลชนแห่งชาติ บังคับใช้หลักจริยธรรมสื่อ เมื่อปี พ.ศ. ใด

2562

2563

2564

2565

2566

Answer explanation

บังคับใช้เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2564

4.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

ข้อใด ไม่ใช่ ด้านหลักการปฏิบัติใน "หลักจริยธรรมทั่วไป" ที่ออกโดยสภาการสื่อมวลชนแห่งชาติ

ด้านความสมดุลและเป็นธรรม

ด้านละเว้นอามิสสินจ้างฯ

ด้านการเคารพสิทธิส่วนบุคคล

ด้านประโยชน์คต่อสาธารณะ

ด้านความถูกต้องและข้อเท็จจริง

5.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

ข้อใด กล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับหลักจริยธรรมที่กล่าวในเรื่อง "ประโยชน์ต่อสาธารณะ"

สื่อมวลชนต้องนำเสนอข่าวสาร หรือแสดงความคิดเห็นด้วยความจริงใจ ไม่หวังประโยชน์ส่วนตัว

สื่อมวลชนควรเสนอข่าว โดยมีสำนึกในการนำเสนอต่อประโยชน์ทางสังคม

สื่อมวลชนพึงระวังการสร้างความตื่นตระหนกทางสังคม จากการนำเสนอข่าว ควรมีการวิเคราะห์เนื้อหา และใช้วิจารณญานในการนำเสนอ

สื่อมวลชน ไม่ควรนำเสนอข่าวที่ปลุกเร้าอารมณ์ต่อคนรับชม หรือสร้างความแตกแยก

สื่อมวลชนจำเป็นต้องระบุที่มาข้อมูล แหล่งที่คัดลอกมา และต้องได้รับการอนุญาตก่อนนำเสนอเสมอ

6.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

คำเชื่อมใดบ้าง ที่ใช้ในการบัญญัติหลักจริยธรรม ของสภาการสื่อมวลชนแห่งชาติ และมีความหมายว่าอย่างไรบ้าง

พึง = ข้อควรปฎิบัติ กรณีไม่ปฏิบัติตามบางกรณีอาจไม่มีความผิด

ต้อง = คือข้อที่ควรปฏบัติ หากไม่ได้ปฏิบัติตามถือว่ามีความผิดทางจริยธรรม

ควร = ข้อกำหนดที่ต้องปฏิบัติตาม แต่ไม่มีบทลงโทษในการกระทำผิด

ต้อง = คือข้อที่ควรปฏบัติ หากไม่ได้ปฏิบัติตามถือว่ามีความผิดทางจริยธรรม

พึง = ข้อควรปฎิบัติ กรณีไม่ปฏิบัติตามบางกรณีอาจไม่มีความผิด

ต้อง = คือข้อที่ควรปฏบัติ หากไม่ได้ปฏิบัติตามถือว่ามีความผิดทางจริยธรรม

ควร = ข้อกำหนดที่ต้องปฏิบัติตาม แต่ไม่มีบทลงโทษในการกระทำผิด

พึง = ข้อควรปฎิบัติ กรณีไม่ปฏิบัติตามบางกรณีอาจไม่มีความผิด

ต้อง = คือข้อที่ควรปฏบัติ หากไม่ได้ปฏิบัติตามถือว่ามีความผิดทางจริยธรรม

ละเว้น = สิ่งไม่ต้องปฏิบัติ เพราะหากปฎิบัติอาจมีความผิดทางจริยธรรม และมีความผิดทางกฎหมาย

ควร = ข้อกำหนดที่ต้องปฏิบัติตาม แต่ไม่มีบทลงโทษในการกระทำผิด

ต้อง = คือข้อที่ควรปฏบัติ หากไม่ได้ปฏิบัติตามถือว่ามีความผิดทางจริยธรรม
ละเว้น = สิ่งไม่ต้องปฏิบัติ เพราะหากปฎิบัติอาจมีความผิดทางจริยธรรม และมีความผิดทางกฎหมาย

7.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

ข้อใด กล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับ หลักจริยธรรมสื่อ ในด้านหลักกระบวนการทำงาน

สื่อมวลชน ควรละเว้นการนำเสนอข่าวสาร หรือการโฆษณาที่ทำให้เกิดความเข้าใจผิด และงมงายในความเชื่อที่ผิด

สื่อมวลชนพึงใช้วิธีการสุภาพ และซื่อสัตย์ในการได้มาซึ่งข้อมูลข่าว เพื่อการนำเสนอ

สื่อมวลชน ต้องไม่สอดแทรกความเห็นส่วนตัวลงในเนื้อข่าวที่นำเสนอ

สื่อมวลชนต้องเปิดโอกาสให้แหล่งข่าวที่มีความขัดแย้งกัน ได้นำเสนอข้อมูลลงสื่ออย่างเท่าเทียม เพื่อความยุติธรรม และให้สังคมเป็นผู้ตัดสิน

สื่อมวลชนต้องไม่เสนอข่าวโดยเลื่อนลอย ปราศจากการระบุแหล่งที่มาของข้อมูลข่าว

Create a free account and access millions of resources

Create resources
Host any resource
Get auto-graded reports
or continue with
Microsoft
Apple
Others
By signing up, you agree to our Terms of Service & Privacy Policy
Already have an account?