วิทยาศาสตร์กายภาพ

วิทยาศาสตร์กายภาพ

1st Grade

5 Qs

quiz-placeholder

Similar activities

การดุลสมการรีดอกซ์ โดยใช้เลขออกซิเดชัน

การดุลสมการรีดอกซ์ โดยใช้เลขออกซิเดชัน

6th Grade

10 Qs

เตรียมจุฬาภรณ์ 1.65

เตรียมจุฬาภรณ์ 1.65

5th - 6th Grade

10 Qs

สารกัมมันตรังสี

สารกัมมันตรังสี

4th Grade

10 Qs

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

11th Grade

10 Qs

การแยกสาร

การแยกสาร

8th Grade

10 Qs

เคมี ม.4

เคมี ม.4

10th - 12th Grade

10 Qs

1.1 องค์ประกอบในอากาศ

1.1 องค์ประกอบในอากาศ

5th Grade

10 Qs

การเกิดปฏิกิริยาเคมี

การเกิดปฏิกิริยาเคมี

7th - 12th Grade

10 Qs

วิทยาศาสตร์กายภาพ

วิทยาศาสตร์กายภาพ

Assessment

Quiz

Chemistry

1st Grade

Hard

Created by

Orathai Kongpaitoon

Used 66+ times

FREE Resource

5 questions

Show all answers

1.

MULTIPLE SELECT QUESTION

10 sec • 1 pt

ข้อใดไม่ใช่การเกิดปฏิกิริยาเคมี

การเผาไหม้

การต้มน้ำให้เดือด

การเน่าบูดของอาหาร

การเหม็นหืนของน้ำมันพืช

2.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

การเปลี่ยนเเปลงข้อใดมีสารใหม่เกิดขึ้น

หลอมกำมะถันให้เป็นของเหลว

คั้นมะพร้าวให้ได้น้ำกะทิ

การย่อยอาหารของมนุษย์

ตัดเหล็กเป็นรูปวงกลม

3.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

วิธีการในข้อใดไม่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี

นำเนื้อสัตว์เเช่ห้องเย็น

การใช้เเคลเซียมคาร์ไบด์ในการบ่มผลไม้

การเคี้ยวยาลดกรดก่อนกลืน

การเปลี่ยนภาชนะที่ใช้ในการบรรจุสารละลาย

4.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

การทดลองในข้อใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุดที่อุณหภูมิเดียวกัน

แผ่นสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัม ลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เข้มข้น 0.1 โมลต่อลิตร

แผ่นสังกะสี 2 ชิ้น ชิ้นละ 0.5 กรัม ลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เข้มข้น 0.1 โมลต่อลิตร

ผงสังกะสี หนัก 1 กรัม ลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เข้มข้น 0.1 โมลต่อลิตร

ผงสังกะสี หนัก 1 กรัม ลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เข้มข้น 0.2 โมลต่อลิตร

5.

MULTIPLE SELECT QUESTION

30 sec • 1 pt

ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถูกต้อง

ธาตุชนิดเดียวกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่นิวตรอนต่างกัน

ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

ธาตุต่างชนิดกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน